ภาษีที่ดิน ประสิทธิภาพ การใช้ประโยชน์ และการออม |
การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ประโยชน์จากที่ดินเป็นเป้าหมายหนึ่งของการปรับเปลี่ยนมาตรการในการจัดเก็บภาษีที่ดิน นอกเหนือไปจากการเพิ่มประสิทธิภาพของการจัดเก็บแบบเดิม ในรูปของภาษีโรงเรือนและที่ดิน ซึ่งมีปัญหาในการจัดเก็บหลายประการด้วยกัน สาระสำคัญประการหนึ่งของภาษีที่ดินใหม่ที่เพิ่งผ่านการพิาจารณาของ ครม.มานั้น การมองว่าที่ดินเป็นทรัพย์สินที่สามารถก่อให้เกิดรายได้ขึ้นมาได้ โดยเฉพาะราคาที่ดินที่สูงขึ้นจากความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ซึ่งเกิดจากระบบสาธารณณูปโภคพพื้นฐานที่รัฐเป็นผู้ลงทุน อ่านต่อบทควาทั้งหมด |
มุมมองทางเศรษฐศาสตร์เกี่ยวกับการบุกรุกพื้นที่ป่าและเพาะปลูกพืชไร่ |
![]() |
ปัจจุบัน การลดลงของพื้นที่ป่าในเขตภูเขาซึ่งเป็นต้นน้ำถูกกล่าวถึงอย่างกว้างขวางในฐานะสาเหตุของปัญหาสืบเนื่องอื่นๆ ทั้งหมอกควันพิษ ภัยแล้ง น้ำท่วม รวมถึงภาวะโลกร้อน ทำให้กระแสสังคมตื่นตัวรณรงค์เพื่ออนุรักษ์พื้นที่ป่า เช่น การปลูกป่าทดแทน ซึ่งก็ถูกตั้งคำถามในเชิงของความยั่งยืนของการดูแลรักษา และแนวทางที่จะสามารถป้องกันการทำลายป่าเพื่อใช้ในการเพาะปลูกพืชไร่ โดยเฉพาะข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ วันนี้ ผมจะกล่าวถึงกลไกทางเศรษฐศาสตร์ที่นำไปสู่ปัญหานี้ และแนวทางแก้ไขปัญหาโดยแนวทางเศรษฐศาสตร์ อ่านต่อบทควาทั้งหมด |
Adding value in the agricultural sector under the AEC |
![]() |
IS IT TRUE that Thailand’s agricultural products face more competition after the establishment of the Asean Economic Community (AEC)? Does Thailand have a disadvantage compared with neighbouring countries? And most important, are Thai farmers worse off? Modern international trade theory states that free trade is not a zero sum game: Every country should gain. Article Read the full
|
หน้า 2 จาก 28