เมื่อเยียวยาอย่างไรก็ไม่ (เคย) ดีพอ (ศ.ดร.พิริยะ)
ศาสตราจารย์ ดร.พิริยะ ผลพิรุฬห์ ศาสตราจารย์ได้รับเงินเด […]
NIDA is a truly international university based in Thailand that focuses on innovative and interactive learning.
ศาสตราจารย์ ดร.พิริยะ ผลพิรุฬห์ ศาสตราจารย์ได้รับเงินเด […]
ปรากฏการณ์กล่องสุ่มเมื่อช่วงปลายปีที่แล้วทำให้การตลาดแบบกล่องสุ่มเป็นที่น่าสนใจ กล่องสุ่มมิใช่เรื่องใหม่แต่อย่างใดมีการขายของในรูปแบบนี้มากว่า 100 ปีแล้ว หลายท่านรู้จักกล่องสุ่มในรูปแบบกาชาปองที่มีต้นกำเนิดจากประเทศญี่ปุ่น หรือถุง Lucky bag จากร้านค้าต่าง ๆ ในประเทศญี่ปุ่นที่จะขายในวันที่ 1 มกราคมของทุกปีโดยรับประกันว่า มูลค่าของในถุงรวมกันเกินกว่าเงินที่ลูกค้าจ่ายแน่นอน
ราคาหมูแพงนั้นเป็นเพียงยอดภูเขาน้ำแข็งที่โผล่ขึ้นมาให้เห็นเท่านั้น ปัญหาในเชิงโครงสร้างของเศรษฐกิจไทยที่สะสมมาตั้งแต่ก่อนการระบาดของโรค และถูกซ้ำเติมเมื่อมีการระบาดขึ้น …
“แผลเป็นทางเศรษฐกิจ” ได้ยินเป็นครั้งแรกจากท่านอดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย ดร. วิรไท สันติประภพ ในทางเศรษฐศาสตร์คงจะหมายถึงปัญหาทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้น สะสม และยังคงอยู่มาเป็นเวลานานในระบบเศรษฐกิจไทย…
เพื่อเป็นการส่งท้ายเดือนมีนาคมซึ่งเป็นช่วงสุดท้ายที่พวกเราจะต้องยื่นชำระหรือขอคืนภาษีเงินได้ ผมจึงขอนำเกร็ดความรู้ทางเศรษฐศาสตร์ที่น่าสนใจเกี่ยวกับภาษีมาฝากทุกท่าน 3 เรื่อง ว่าภาษีมีความจำเป็นอย่างไร การเลี่ยงภาษีเป็นพฤติกรรมที่สมควรถูกตำหนิหรือไม่ และปัจจัยใดที่ส่งผลกระทบต่อความเต็มใจจะจ่ายภาษีของประชาชน ดังนี้ครับ
” Gen Z ยอมรับความเสี่ยงได้สูง สนใจและเลือกลงทุนกำไรสูงในเวลาอันรวดเร็ว หรือหากขาดทุนก็จะตัดใจวิ่งออกได้รวดเร็วเช่นกัน ประเภทเงินคริปโตและสินทรัพย์ดิจิทัลทั้ง “
การสร้างหรือการกระตุ้นให้เกิดการเติบโตทางเศรษฐกิจที่อยู่บนฐานของการบริโภคพึ่งพาการใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในระบบเศรษฐกิจทั้งจากประชาชนในประเทศ ภาคเอกชน ภาครัฐ และผู้เดินทางจากต่างประเทศ เป็นเครื่องจักรในการขับเคลื่อนให้เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
รองศาสตราจารย์ ดร.อภิรดา ชิณประทีป ศูนย์ศึกษาพัฒนาการเศ […]
รองศาสตราจารย์ ดร.อภิรดา ชิณประทีป ศูนย์ศึกษาพัฒนาการเศ […]
ศาสตราจารย์ ดร.พิริยะ ผลพิรุฬห์ ศาสตราจารย์เงินเดือนขั้ […]
การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ในเกือบสองปีที่ผ่านมาได้ส่งผลต่อปัญหาการว่างงานอย่างมหาศาล โดยเฉพาะแรงงานที่เกี่ยวข้องกับภาคการท่องเที่ยวและบริการซึ่งมีประมาณ 3.9 ล้านคน (ไม่รวมสาขาการค้าส่งและการค้าปลีก) จะได้รับผลกระทบจากการลดลงของนักท่องเที่ยวต่างชาติและการท่องเที่ยวในประเทศประมาณ 2.5 ล้านคน แต่อย่างไรก็ดี คำถามที่ตามมาก็คือ โควิด-19 เข้ามากระทบกับแรงงานกลุ่มนี้อย่างไร เมื่อแรงงานเหล่านั้นต้องมีการว่างงานหรือถูกลดค่าจ้าง แรงงานเหล่านั้นจะต้องมีการปรับตัวอย่างไร
การฟื้นฟูทางเศรษฐกิจคงจะเป็นเรื่องที่มีความสำคัญอยู่ในลำดับต้น ๆ (Top priority) ในช่วงเวลาถัดจากนี้ไปของการดำเนินนโยบายทางเศรษฐกิจ เรียกว่าผ่าน mode หรือช่วงของการเยียวยา ที่เข้าใจว่าใช้มาตรการในการส่งเสริม สนับสนุนด้านการบริโภคในระบบเศรษฐกิจเป็นหลัก ซึ่งมีผลเป็นเพียงการประคับประคองไม่ให้เศรษฐกิจทรุดหนักจนยากต่อการฟื้นตัว ในช่วงต่อไปก็คงจะเป็นช่วงของการฟื้นฟูเศรษฐกิจ